เกนๆๆ
พูดอะไรกัน?!!
#เทรลทัวริ่ง ชวนคุย สำหรับมือใหม่ที่มาจากทางเร ียบ
เนื่องจาก ฤดูกาลรับสมัครแย่งชิงตัวนั กวิ่งเทรลกำลังเริ่มขึ้น
(เข้าใจว่า จริงๆเริ่มแล้ว)
นอกจากเรื่องค่าสมัครแล้ว ;p
ข้อมูลนึงที่นักวิ่งควรจะนำ มาพิจารณาประกอบสมัคร คือ ค่า gain นี่ล่ะ
ก็ขนาด i-tra ยังเอามาเป็น index ของระดับคะแนนเลยว่า..
ระยะทาง + (gain/100)
คือตัวเลขที่นำมาพิจารณาให้ คะแนนของ race นั้นๆ
บางท่านก็อาจฟันธงเลย “นี่ล่ะ ค่าความเหนื่อย”
เช่น ระยะ 77 km gain 4000
= 77+ (4000/100)
= 117
อ๋อออออ เหนื่อยพอๆกะวิ่ง 117 กิโลเมตร
จะเอามาใช้แบบนี้ก็ไม่ผิดอะ ไร แต่อาจไม่ตรงความหมายเดิมเป ๊ะๆเท่านั้นเอง
ลองดูตัวอย่างจากภาพครับ
Note:: ผมไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกั บผู้จัด cm6 นะครับ แจงไว้ก่อน
แถมเอาภาพมานี่ก็ไม่ได้ขออน ุญาต แฮร่!!
ดูภาพๆ
จาก จุดสตาร์ท ไป hq1
เอาความสูงทั้งสองจุด จับมาลบกัน
1350 - 331 = 1019
Gain ช่วงนี่คือ 1019 เมตรครับ
นับแบบนี้เลยรึ?!!
ครับ นับประมาณๆเอา เพราะทางขึ้นช่วงนี้ แทบไม่มีทางลงเลย(มีบ้างล่ะ แต่ไม่เป็นนัยะ)
ทีนี้ดูระยะทางนะครับ
10 km
ขยี้เน้นๆอีกที
ด้วยระยะทาง 10 km
เราพาตัวเองขึ้นไปสูง 1000 m
เอาเรื่อง gain ต่อให้จบ
จาก hq 1 วิ่งต่อไป A1
จะเห็นว่า เราต้องขึ้นไปจุดสูงสุดของก ราฟ แล้วลง แล้วขึ้นนิดนึง ลงอีกหน่อย แล้วลงๆๆ
ขึ้นแล้วก็ลง ขึ้นแล้วก็ลง ตื่อ ตือ ตึ๊ดตือ
แล้วก็ขึ้นๆๆไปที่จุด A1
ถึงที่ A1 ซึ่ง มีความสูงจากระดับน้ำทะเล แค่ 1073 m
#แต่...
gain ที่บอกบนนาฬิกาคือ 1960 m
(cm6/2017 ผมมาตายอยู่แค่ตรงนี้ล่ะ เลยมีข้อมูล 55)
ทุกครั้งที่เรา”ขึ้น” นาฬิกามันจะบวกความสูงเพิ่ม ขึ้นไปเรื่อยๆ
โดยไม่สนใจว่าเราจะลงแค่ไหน ยังไง
ขึ้นใหม่อีกก็นับต่อจากเดิม อีก
เรียก gain ว่า “ความสูงสะสม” น่าจะฟังไม่ยาก
Gain รวมของ cm4 สี่พันกว่าๆ ครับ
แปลว่า เราต้องสะสมความสูงต่อไปจาก จุด a1 อีก สองพันกว่าเมตร
ความสูงสะสม 2000 กว่าเมตรนะ
นึกไม่ออกใช่ไหม?
ในไทย ที่ๆหลายคนรู้จักว่า #สูงสองพันกว่าเมตร คือดอยอินทนนท์ครับ
นับจากจอมทองนะ ขึ้นไปถึงยอดดอยอินทนนท์
นี่นับเอาแบบง่ายๆ เลขกลมๆ
นั่นน่ะ เราต้องทำความสูงสะสมให้ได้ เท่านั้น
(หลังจาก a1 ไป)
ข้อมูลล้นละยังครับ
ถ้ายัง ตามมาอีกนิด
.
.
.
จะคุยเรื่อง “ความชัน” ให้ฟัง
#gainไม่ใช่ความชัน
ตรงนี้ก็สำคัญ มากกกกด้วย
จำแม่นๆ ว่าไม่ใช่เรื่องเดียวกัน แต่มีความสัมพันธ์กันอยู่
แล้วความชันคืออะไร?
นับจากความรู้สึกได้เลยครับ
#ความชันคือความยากในการขึ้ นเขา
--------------
#ดอยสุเทพเป็นตัวอย่างที่ดี
ถ้านับจากอนุสาวรีย์ครูบาศร ีวิชัย ไปตามถนน ถึงพระธาตุดอยสุเทพ ระยะทางประมาณ 11 กม
(อันนี้ผมถามกูเกิลแมปเอา)
แต่ ถ้าขึ้นทางเท้า เข้าป่าด้านหลังมช. จะใช้ระยะทางเพียง ไม่ถึง 5km
ปลายทางดอยสุเทพเหมือนกัน gain เท่ากัน
แล้ว... เส้นทางไหนล่ะ ที่ชันกว่า?
แน่นอน ทางเท้าครับ
แล้วแบบไหนเหนื่อยกว่าล่ะ?
อันนี้คำถามโลกแตกครับ เพราะถามมา คำตอบก็นัวเนีย
บางท่านชอบขึ้นชันให้มันจบๆ ไป บอกว่าทางเท้าเข้าป่านี่แหล ะดี
บางท่านบอกว่า ทางถนนถึงมันจะไกล แต่ชันน้อยกว่า แบบนี้ถนัดกว่า ขึ้นสบาย เดี๋ยวก็ถึง
แล้วแต่คนจริงๆครับ
-----------------
อีกตัวอย่างนึง
ตะนาวศรีเทรล 30k
Gain 2100 m
ทำไมเหนื่อยจัง ทำไม dnf เยอะจัง
คำตอบชัดมาก หลายคนถูกความชันทำร้าย ^^;
ด้วยระยะทางสั้นๆ เพื่อขึ้นที่สูงมากอย่างรวด เร็ว
เราใช้กล้ามเนื้อต่างกับการ วิ่งเร็วครับ
หลายคนที่วิ่งทางราบเร็วๆ แล้วมาจัดตะนาวศรีเป็นเทรลแ รก มีสตั๊นท์เหมือนกัน
และ...
เพื่อให้เอาค่าความชันมาเที ยบกันได้ง่ายๆ
เราเอาอัตราส่วนของความสูงต ่อระยะทางแนวราบมาใช้ จากนั้นโมดิฟายด์ต่ออีกนิด
และเรียกเป็น #เปอร์เซนต์ความชัน
นี่ชักเยอะเกินละ
จำไว้นิดนึงละกัน แถมๆ
ความชันที่เป็นองศา กับความชันที่เป็นเปอร์เซนต ์
#ไม่ใช่ค่าความยากเดียวกัน
คนละความชัน คนละเรื่องกันเลย
.
.
.
.
.
=====================
เอ้า สรุปอีกที
#ความสูงสะสม(gain,ascent)
#ความชัน
สองคำนี้ #ความหมายต่างกัน
แต่ควรเอามาประกอบการพิจารณ าก่อนสมัครทั้งคู่
=====================
** เขียนไว้ในกลุ่ม Ultra Trail runners
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=1599070880158768&set=p.1599070880158768&type=1&theater
พูดอะไรกัน?!!
#เทรลทัวริ่ง ชวนคุย สำหรับมือใหม่ที่มาจากทางเร
เนื่องจาก ฤดูกาลรับสมัครแย่งชิงตัวนั
(เข้าใจว่า จริงๆเริ่มแล้ว)
นอกจากเรื่องค่าสมัครแล้ว ;p
ข้อมูลนึงที่นักวิ่งควรจะนำ
ก็ขนาด i-tra ยังเอามาเป็น index ของระดับคะแนนเลยว่า..
ระยะทาง + (gain/100)
คือตัวเลขที่นำมาพิจารณาให้
บางท่านก็อาจฟันธงเลย “นี่ล่ะ ค่าความเหนื่อย”
เช่น ระยะ 77 km gain 4000
= 77+ (4000/100)
= 117
อ๋อออออ เหนื่อยพอๆกะวิ่ง 117 กิโลเมตร
จะเอามาใช้แบบนี้ก็ไม่ผิดอะ
ลองดูตัวอย่างจากภาพครับ
Note:: ผมไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆกั
แถมเอาภาพมานี่ก็ไม่ได้ขออน
ดูภาพๆ
จาก จุดสตาร์ท ไป hq1
เอาความสูงทั้งสองจุด จับมาลบกัน
1350 - 331 = 1019
Gain ช่วงนี่คือ 1019 เมตรครับ
นับแบบนี้เลยรึ?!!
ครับ นับประมาณๆเอา เพราะทางขึ้นช่วงนี้ แทบไม่มีทางลงเลย(มีบ้างล่ะ
ทีนี้ดูระยะทางนะครับ
10 km
ขยี้เน้นๆอีกที
ด้วยระยะทาง 10 km
เราพาตัวเองขึ้นไปสูง 1000 m
เอาเรื่อง gain ต่อให้จบ
จาก hq 1 วิ่งต่อไป A1
จะเห็นว่า เราต้องขึ้นไปจุดสูงสุดของก
ขึ้นแล้วก็ลง ขึ้นแล้วก็ลง ตื่อ ตือ ตึ๊ดตือ
แล้วก็ขึ้นๆๆไปที่จุด A1
ถึงที่ A1 ซึ่ง มีความสูงจากระดับน้ำทะเล แค่ 1073 m
#แต่...
gain ที่บอกบนนาฬิกาคือ 1960 m
(cm6/2017 ผมมาตายอยู่แค่ตรงนี้ล่ะ เลยมีข้อมูล 55)
ทุกครั้งที่เรา”ขึ้น” นาฬิกามันจะบวกความสูงเพิ่ม
โดยไม่สนใจว่าเราจะลงแค่ไหน
ขึ้นใหม่อีกก็นับต่อจากเดิม
เรียก gain ว่า “ความสูงสะสม” น่าจะฟังไม่ยาก
Gain รวมของ cm4 สี่พันกว่าๆ ครับ
แปลว่า เราต้องสะสมความสูงต่อไปจาก
ความสูงสะสม 2000 กว่าเมตรนะ
นึกไม่ออกใช่ไหม?
ในไทย ที่ๆหลายคนรู้จักว่า #สูงสองพันกว่าเมตร คือดอยอินทนนท์ครับ
นับจากจอมทองนะ ขึ้นไปถึงยอดดอยอินทนนท์
นี่นับเอาแบบง่ายๆ เลขกลมๆ
นั่นน่ะ เราต้องทำความสูงสะสมให้ได้
(หลังจาก a1 ไป)
ข้อมูลล้นละยังครับ
ถ้ายัง ตามมาอีกนิด
.
.
.
จะคุยเรื่อง “ความชัน” ให้ฟัง
#gainไม่ใช่ความชัน
ตรงนี้ก็สำคัญ มากกกกด้วย
จำแม่นๆ ว่าไม่ใช่เรื่องเดียวกัน แต่มีความสัมพันธ์กันอยู่
แล้วความชันคืออะไร?
นับจากความรู้สึกได้เลยครับ
#ความชันคือความยากในการขึ้
--------------
#ดอยสุเทพเป็นตัวอย่างที่ดี
ถ้านับจากอนุสาวรีย์ครูบาศร
(อันนี้ผมถามกูเกิลแมปเอา)
แต่ ถ้าขึ้นทางเท้า เข้าป่าด้านหลังมช. จะใช้ระยะทางเพียง ไม่ถึง 5km
ปลายทางดอยสุเทพเหมือนกัน gain เท่ากัน
แล้ว... เส้นทางไหนล่ะ ที่ชันกว่า?
แน่นอน ทางเท้าครับ
แล้วแบบไหนเหนื่อยกว่าล่ะ?
อันนี้คำถามโลกแตกครับ เพราะถามมา คำตอบก็นัวเนีย
บางท่านชอบขึ้นชันให้มันจบๆ
บางท่านบอกว่า ทางถนนถึงมันจะไกล แต่ชันน้อยกว่า แบบนี้ถนัดกว่า ขึ้นสบาย เดี๋ยวก็ถึง
แล้วแต่คนจริงๆครับ
-----------------
อีกตัวอย่างนึง
ตะนาวศรีเทรล 30k
Gain 2100 m
ทำไมเหนื่อยจัง ทำไม dnf เยอะจัง
คำตอบชัดมาก หลายคนถูกความชันทำร้าย ^^;
ด้วยระยะทางสั้นๆ เพื่อขึ้นที่สูงมากอย่างรวด
เราใช้กล้ามเนื้อต่างกับการ
หลายคนที่วิ่งทางราบเร็วๆ แล้วมาจัดตะนาวศรีเป็นเทรลแ
และ...
เพื่อให้เอาค่าความชันมาเที
เราเอาอัตราส่วนของความสูงต
และเรียกเป็น #เปอร์เซนต์ความชัน
นี่ชักเยอะเกินละ
จำไว้นิดนึงละกัน แถมๆ
ความชันที่เป็นองศา กับความชันที่เป็นเปอร์เซนต
#ไม่ใช่ค่าความยากเดียวกัน
คนละความชัน คนละเรื่องกันเลย
.
.
.
.
.
=====================
เอ้า สรุปอีกที
#ความสูงสะสม(gain,ascent)
#ความชัน
สองคำนี้ #ความหมายต่างกัน
แต่ควรเอามาประกอบการพิจารณ
=====================
** เขียนไว้ในกลุ่ม Ultra Trail runners
https://www.facebook.com/photo.php?fbid=1599070880158768&set=p.1599070880158768&type=1&theater
Comments
Post a Comment